ค่านิยมองค์กร (core value): MOPH
M: Mastery | ฝึกฝนตนเองให้มีศักยภาพสูงสุด (ควบคุมตนเองให้ทำงานคิดพูดอย่าง มีสติใช้กิริยาวาจาเหมาะสมมีความซื่อสัตย์มีคุณธรรมจริยธรรมรักการ เรียนรู้ค้นหาความรู้สม่ำเสมอมีวินัยตรงต่อเวลารับผิดชอบ) |
O: Originality | สร้างสรรค์นวัตกรรมสิ่งใหม่ๆที่เป็นประโยชน์ต่อระบบสุขภาพ |
P:Peoplecenteredapproach | ยึดประชาชนเป็นที่ตั้งเป็นศูนย์กลางในการทำงาน |
H: Humility | มีความอ่อนน้อมถ่อมตนการเคารพผู้อื่นเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมรู้แพ้ รู้ชนะเปิดรับฟังความเห็นต่างจัดการความขัดแย้งด้วยวิธีสร้างสรรค์ ช่วยผู้อื่นแก้ปัญหาในยามคับขัน |
การนำค่านิยม(core value) สู่การปฏิบัติ
สถานการณ์
ความเป็นพี่น้องลดลงแบ่งพวกแบ่งกลุ่มเกิดความเหลื่อมล้ำระบบคุณธรรมลดลงระบบอุปถัมภ์ เพิ่มขึ้นเกิดวิกฤตศรัทธาขององค์กร
การนำไปสู่การปฏิบัติ(How toimplement)
1. สืบสานเจตนารมณ์วิถีชีวิตวัฒนธรรมการท างาน
2. คัดเลือกสรรหาคนที่ตรงกับค่านิยม( core values )
3. สร้างค้นหาต้นแบบ (Model idol)
4. ยกย่องเชิดชูสนับสนุน
5. บรรจุในหลักสูตรพัฒนาคน
6. เล่าขานตำนานความสำเร็จทุกเวที
สถานการณ์
ปฏิสัมพันธ์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียความไว้วางใจความเชื่อเปลี่ยนแปลงไปมากมีความไม่ลงรอยกัน ความรู้สึกเหลื่อมล้ำไม่เป็นธรรมของแต่ละวิชาชีพ
การนำไปสู่การปฏิบัติ(How toimplement)
1. ผู้นำต้นแบบการสื่อสารมีคำสำคัญ (key message) ทุกรูปแบบทุกโอกาสอย่างต่อเนื่อง
2. สื่อสารแบบมีส่วนร่วมทุกระดับ
3. สร้างการมีส่วนร่วมทุกวิชาชีพ/สมาคมทำให้เกิดความไว้วางใจความเชื่อถือระหว่างกัน
การนำไปสู่การปฏิบัติ(How to implement)
1. กำหนดวิสัยทัศน์(vision) เป้าหมาย (goal) ให้ชัดเจนโดยการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
2. สื่อสาร 3C ประกอบด้วย Clear, Concise, Complete
3. นำสู่การปฏิบัติสื่อให้จำทำให้ดูจริงจังต่อเนื่องพูดแล้วต้องทำเริ่มจากผู้บริหารระดับสูง
4. แปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ให้รางวัล
5. ทบทวนต่อเนื่องโดย PDCA (Plan Do Check Act) ทุก 1 ปี
6. ประชาชนสังคมติดตามกำกับ สถานการณ์ ผู้ปฏิบัติได้รับการยอมรับน้อยความแตกต่างแต่ละวิชาชีพความไม่ยุติธรรมถูกเอารัดเอาเปรียบการ จัดสรรทรัพยากรไม่ยุติธรรม
การนำไปสู่การปฏิบัติ(How to implement)
1. สร้างความเชื่อมั่นในทุกระดับตั้งแต่ผู้บริหารจนถึงระดับปฏิบัติ
2. สร้างกระแสให้ผู้ปฏิบัติอยากทำงานเพื่อประชาชนเป็นที่ตั้ง
3. มีระบบการจัดสรรทรัพยากรที่เพียงพอเหมาะสมเป็นธรรม
4. มีช่องทางในการสื่อสารสร้างความเข้าใจรับรู้ในบุคลากรทุกระดับ
5. เจ้าหน้าที่มีความสุขมีความมั่นคงด้านจิตใจมีกระบวนการเสริมสร้างความสุขสามัคคีเช่นการจัด พัฒนาองค์กร (organization development)
6. มีแบบอย่างต้นแบบที่ดีในทุกระดับ“คนต้นแบบ” สถานการณ์ ระดับพื้นที่ถูกสั่งให้ทำตาม
การนำไปสู่การปฏิบัติ(How to implement)
1. การสื่อสารการมีส่วนร่วม
2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการสื่อสาร
3. การปลูกฝังผู้นำทุกระดับเป็นแบบอย่างการจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการคงอยู่ของค่านิยมร่วมของ สมาชิกในองค์กรเริ่มที่ตัวเราเปลี่ยนที่ตัวเราองค์กรเรา3ทคือ“ทำทันทีทำทุกที่ทำทุกคน”
สถานการณ์
การสนับสนุนนโยบายด้านส่งเสริมป้องกันยังไม่เข้มแข็งมีช่องว่างระหว่างการทำงานและขาดการ บูรณาการงบประมาณและระบบการจัดสรรเงินยังมีปัญหาบุคลากรไม่เพียงพอความขัดแย้งระหว่างวิชาชีพมี ช่องว่างของการบูรณาการงานร่วมกันทุกระดับการสร้างภาคีเครือข่ายยังขาดประสิทธิภาพความสามัคคีของคน ในองค์กรทุกระดับความเหลื่อมล้ำระหว่างวิชาชีพการสนับสนุนด้านวิชาการวิจัยและนวัตกรรม
การนำไปสู่การปฏิบัติ(How to implement)
1. มีการกำหนดกลไกการขับเคลื่อนงานที่มีการบูรณาการ (NHA Board)
2. สร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมคิดร่วมทำทุกระดับ
3. มีระบบการเสริมสร้างระเบียบวินัยและการมีธรรมาภิบาลในระบบ
4. พัฒนาระบบการเงินการคลังให้มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน
5. ประกาศเจตนารมณ์ในการสื่อสารค่านิยมองค์กร (core value) ให้ทั่วถึงและลงสู่ปฏิบัติ ค่านิยม (core value) ไม่ใช่การสั่งการแบบจากบนลงล่าง (top-down) ทุกระดับต้องมีความคิด ปรัชญาพฤติกรรมเหมือนๆกันค่านิยม (core value) จะไม่เกิดเป็นจริงได้ถ้าทุกฝ่ายไม่ยอมรับร่วมกันดังนั้น บุคลากรทุกคนจึงมีความสำคัญแม้แต่คนทำความสะอาดพื้นโรงพยาบาลก็ต้องเคารพในคุณค่าของคนเหล่านี้
respect humanity หมายถึงทุกคนสำคัญกับองค์กรจะไม่มีความเหลื่อมล้ำผู้นำผู้ปฏิบัติต้องมี ความสำคัญเท่ากันส่วนคำว่า Mastery คือเคารพตัวเองถ้าเราเป็นนายตัวเองได้เราจะทำได้เกือบหมดทุกสิ่งทุก อย่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขย้ำว่ากระทรวงสาธารณสุขกำลังปฏิรูปภายใต้แนวทางการปฏิรูป ประเทศการเปิดอาเซียนทุกคนต้องรับทราบค่านิยม (core value) และไปด้วยกันเป็นฟันเฟืองซึ่งกันและกันจะ เป็นพลังที่ยิ่งใหญ่หมุนสิ่งใหญ่ให้เคลื่อนได้